☰ Menu
ศ.ดร.ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ
Professor Dr.Chawewan Ratanaprasert

ห้องทำงาน 1547อาคารวิทย์ฯ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
เบอร์โทรศัพท์: 034-245320-1 ต่อ 28106
E-mail: ratach@su.ac.th

ประวัติการศึกษา

  • ระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนอนุบาลชลบุรี จ. ชลบุรี
  • ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนชลกันยานุกูล จ. ชลบุรี
  • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพฯ
  • ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
  • ปริญญาโท สาขาคณิตศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ ด้วยทุนโครงการพัฒนาอาจารย์ (UDC.)
  • ปริญญาเอก Doctor of Philosophy in Mathematics จาก La Trobe University Australia ด้วยทุน La Trobe University Scholarships


ประวัติการรับราชการ

  • เข้ารับราชการตำแหน่งอาจารย์ ในสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม   เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2520
  • ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2527
  • ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2536
  • ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2551
  • ต่ออายุราชการ 1 ตุลาคม 2556 - 30 กันยายน 2561


สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
Universal Algebra


โครงการวิจัย

1. ปี 1997 ได้รับทุนของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ให้ดำเนินการวิจัยในฐานะหัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง Monotone Clone of Strings เป็นระยะเวลา 1 ปี

2. ปี 1998–2000 ได้รับทุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้ดำเนินการวิจัยในฐานะหัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง Finitely Generated Monotone Clones เป็นระยะ เวลา 3 ปี

3. ปี 2001–2004 ได้รับทุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้ดำเนินการวิจัยในฐานะหัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง Monotone Clones and Identities เพื่อทำการวิจัยต่อจากโครงการเดิมอีก เป็นระยะเวลา 3 ปี

4. ปี 2001 เป็นนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยงในโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชนรุ่นที่ 5 โดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ดูแลนางสาวสินีนุช สุวรรณาภิชาติ ในหัวข้อเรื่อง “A Representation of Boolean Algebras”

5. ปี 2002 เป็นนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยงในโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชนรุ่นที่ 6 โดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ดูแลนายเดชชาติ สามารถ ในหัวข้อเรื่อง “Free Product of Geoups” และได้รับรางวัลที่ 2 ในการเสนอผลงานประจำปี ทำให้นายเดชชาติ สามารถ ได้รับทุนวิจัยต่อเนื่องระยะยาว จนจบการศึกษา

6. ปี 2005–2008 ได้รับทุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ให้ดำเนินการวิจัยในฐานะหัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง Classification of finite algebras by unary non-bijective functions เป็นระยะเวลา 3 ปี

7. ปี 2007 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ ให้ทำการวิจัยเรื่อง Modular Lattices of Subgroups เป็นระยะเวลา 1 ปี

8. ปี 2008 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ ให้ทำการวิจัยเรื่อง Semigroup Properties of Operations on Finite Sets เป็นระยะเวลา 1 ปี

9. ปี 2010 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ ให้ทำการวิจัยเรื่อง Unary Operations with Pre-periods 0 and 1 เป็นระยะเวลา 1 ปี

10. ปี 2011 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ ให้ทำการวิจัยเรื่อง All Tolerances on Order-Primal Algebras เป็นระยะเวลา 1 ปี

11. ปี 2012 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ ให้ทำการวิจัยเรื่อง Tolerances on mono-unary algebras with long pre-periods เป็นระยะเวลา 1 ปี

12. ปี 2013 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะวิทยาศาสตร์ ให้ทำการวิจัยเรื่อง A Characterization of all Algebras in the Variety Generated by an Irreducible Mono-Unary Algebra เป็นระยะเวลา 1 ปี



การอบรมและดูงาน

1. ปี 1990 ได้รับทุน Young Asian Mathematicians ของประเทศญี่ปุ่น ให้เข้าร่วมประชุมและสังเกตการณ์ ในการประชุม International Mathematicians Organization ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น

2. ปี 1995 ได้รับทุน IDPให้ไปอบรม ดูงานและทำงานวิจัยร่วมกับ Professor Dr. B.A. Davey นักคณิตศาสตร์ชาวออสเตรเลีย เป็นเวลา 3 เดือน

3. ปี 1997 ได้รับทุนโครงการพัฒนาอาจารย์ จากทบวงมหาวิทยาลัย ไปอบรมดูงานและทำงานวิจัยร่วมกับ Professor Dr. B.A. Davey นักคณิตศาสตร์ชาวออสเตรเลีย เป็นเวลา 2 เดือน

4. 1997-2010 ไปอบรมดูงานและทำงานวิจัยร่วมกับ Professor Dr. K. Denecke นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ที่ กรุงเบอร์ลิน ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันนี ทุกปี ปีละประมาณ 45 วัน



ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ

1. C. Chaiyakul and M. Tamthai, The Endomorphism Semigroup of Algebras with Reflexive Elements, Algebra Universalis, 11(1980) ,193–196.

2. C. Ratanaprasert and B.A. Davey, Semimodular Lattices with Isomorphic Graphs, Order 4(1987), 1–13.

3. C. Ratanaprasert, Compatible Order of Semilattices, Tatra Mountains Mathematical Publications 5(1995), 177–187.

4. C. Ratanaprasert, On Monotone Clones of Connected Ordered Sets, General Algebra and Discrete Mathematics, 59th Arbeitstagung Allgemeine Algebra, Potsdam, February 2000.

5. C. Ratanaprasert, All Ordered Sets Having Amenable Lattice Orders ,      Mathematica Slovaca, 52(2002) , No. 1, 1–11 .

6. C. Ratanaprasert, Graph Isomorphisms of Ordered Sets, Mathematica Slovaca, 52 (2002), No. 5, 491–499.

7. C. Ratanaprasert, The Only Maximal Clones of Fences, Silpakorn University Journal, Vol. 1, 17(2003), 19 – 26.

8. C. Ratanaprasert, All Maximal Clones Containing a Crown, Southeast Asian Bulletin of Mathematics (2004) 27: 1089–1100.

9. C. Ratanaprasert, On Monotone Clones of Strings, Southeast Asian Bulletin of Mathematics, (2004) : 671–683.

10. C. Ratanaprasert and K. Denecke, Hyperidentities in Order–primal Algebras, Journal of Applied Algebra and Discrete Structures, Vol. 2(2004), No. 2. pp. 101–118.

11. C. Ratanaprasert and A. Chantasartrasamee, Some Modular Lattices of Subgroups, East – West Journal of Mathematics: Contribution in General Algebra (NCAM 2003 – 2004): pp 73 – 80.

12. K. Denecke, S. Radelecki and C. Ratanaprasert, On constantive simple and order– primal algebras, Order, Vol.22 (2006), pp 301-310.

13. C. Ratanaprasert and S. Suwanapichart, A Representation of a Locally Finite Boolean Algebra, Silpakorn University Journal, Vol. 1, 27 (2007), 183 – 193.

14. C. Ratanaprasert and D. Samart, Free Product of Groups, Silpakorn University Journal, Vol. 2, 27 (2007), 100 – 115.

15. C. Ratanaprasert and K. Denecke, Partial Unary Operations with Long Pre-periods, Journal of Applied Algebra and Discrete Structures, Vol. 5 (2007), No. 3, pp. 133–145.

16. C. Ratanaprasert and K. Denecke, Unary operations with long pre-periods, Discrete Mathematics, 308 (2008): pp 4998 – 5005.

17. R. Butekote, K. Denecke and C. Ratanaprasert, Semigroup Properties of N-ary Operations on Finite Sets, Asian-European Journal of Mathematics, Vol. 1, No. 1 (2008), pp. 27– 44.

18. C. Ratanaprasert, A Characterization of groups whose lattices of subgroups are n-Mp+1 chains for all primes p, Silpakorn University Science and Technology Journal, Vol. 3, No. 2 (July-December 2009) pp. 42-47.

19. C. Ratanaprasert and K. Denecke, N-ary Operations with Long Pre-periods, Asian-European Journal of Mathematics, Vol. 2, No. 2 (2009), pp. 201– 212.

20. C. Ratanaprasert and S. Thiranantanakorn, All Congruence Modular Symmetric and Near- Symmetric Algebras, Silpakorn University Science and Technology Journal, Vol 5, No. 1 (January-June 2011) pp. 24-33.

21. C. Ratanaprasert and S. Chotwattakawanit, All Maximal Clones of a Majority Ordered-set, Advances and Applications in Discrete Mathematics, Vol 8, No.1 (2011), pp 1-15.

22. C. Ratanaprasert and K. Denecke, Iteration of Total and Partial Unary Operations, Southeast Asian Bulletin of Mathematics (2012) 36: pp 687– 694.

23. C. Ratanaprasert and S. Thiranantanakorn,Modular and Distributive Congruence Lattices of Monounary Algebras, Bulletin of the Malaysian Mathematical Sciences Society (2) 36 (2) (2013), pp 291-298.

24. C. Ratanaprasert and K. Denecke, Tolerances on Mono-unary Algebras with long Pre-periods, Scientiae Mathematicae Japonicae, 76,No. 2 (2013), 255-272.

25. C. Ratanaprasert and S. Sukgumpapan, A Characterization of all algebras in the variety generated by an irreducible mono-unary algebra, Advances and Applications in Discrete Mathematics, (2014) submitted to .

26. U. Chotwattakawanit and C. Ratanaprasert, All Maximal Clones of a Majority Reflexive Graph, Communications in Algebra, (2014) submitted.



งานแต่ง ตำราหรือ หนังสือ

1. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ คณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2527

2. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ พีชคณิตแผนใหม่ ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2527

3. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ เทคนิคการหาอนุพันธ์และการอินทิเกรต ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2535

4. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ ลิมิตและความต่อเนื่อง ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2535

5. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ ชุดฝึกหัดคณิตศาสตร์พื้นฐาน 2 ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2535

6. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ คณิตศาสตร์พื้นฐาน 2 ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2535

7. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ วิธีพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2535

8. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ ทฤษฎีเซต ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2535

9. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ คณิตศาสตร์สำหรับนักศึกษาเทคโนโลยี 1 ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2538

10. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ พีชคณิต โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) พิมพ์ที่บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด 2547 (192 หน้า)

11. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ พีชคณิตเอกภาพ โครงการตำราคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากรนครปฐม 2549 (219 หน้า)

12. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ ทฤษฎีกรุปเบื้องต้น คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ โครงการตำราคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร นครปฐม 2553 (206 หน้า)

13. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ พีชคณิตนามธรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ โครงการตำราคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร นครปฐม 2556 (แก้ไขครั้งที่ 1 จำนวน 225 หน้า)

14. ฉวีวรรณ รัตนประเสริฐ ฐานรากคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ โครงการตำราคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร นครปฐม (ดำเนินการ2557)

บทความ

เป็นคอลัมภ์นิสต์เขียนบทความทางวิชาการลงในวารสารรายเดือน “นิตยสารคณิตศาสตร์

MY MATHS” (ในเครือสำนักพิมพ์วิภาษา) จากฉบับปฐมฤกษ์ February 2005, Vol.1, No.1 ถึงปัจจุบัน ดังตัวอย่างรายชื่อบทความต่อไปนี้

 

  • เสน่ห์ตัวเลข (ตอน ความสัมพันธ์ของจำนวน)
  • ตัวช่วยสมมาตร(/ ตอนจบ)
  • เสน่ห์ตัวเลข (ตอน จัตุรัสจิกซอ)
  • พีชคณิตเชิงเรขาคณิต(Geometric Algebra)
  • เทคนิค Telescoping (4 ตอนจบ)
  • มหัศจรรย์พหุนามมูลฐาน(4 ตอนจบ)
  • ตรรกยะหรืออตรรกยะ
  • การประยุกต์ทฤษฎีบทหลักมูลของพีชคณิต
  • การหารากของสมการหรือระบบสมการโดยการแปลง
  • การออกแบบเพื่อการคำนวณในคอมพิวเตอร์ (3 ตอนจบ)
  • อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
  • การหา “ทั้งหมด” (12 ตอน)